ความพอประมาณ ในการกิน
มีคำพังเผย ที่ว่า "อย่าอยู่อย่างอยาก" คืออยากกินอะไร ก็จะกินให้ได้ ฉันไม่สนจะกิน ฉันมีเงิน ความไม่พอประมาณในการกิน ทำให้เกิดการอ้วน โดยไม่มีเหตุผล อ้วนสะสมเพราะไม่มีความพอดีในการกิน อิ่มแล้วแต่เห็นมีอาหารใหม่มาก็ยัดเยียดเข้าท้องกินอีก นำมาซึ่ง โรคต่างๆ ถ้ามรมีความพอประมาณในการกิน ทั้ง โรคอ้วน โรคความดันสูง โรคหัวใจ หลอดเลือดตัน เป็นผลเสียทั้งนั้น
มันเป็นความจริงขอมนุษย์ที่หยุดกินไม่ได้ เมื่อมีความอยาก และความหิว ในบางครั้งเราก็ต้องกินแต่พออิ่ม ไม่มากไม่น้อยเกินไป
ในบางคนไม่นิยมกินผัก กินแต่เนื้อ อย่างเดียว และความไม่พอประมาณในเนื้อ ผักไม่มี โรคถามหาง่ายๆ การกินต้องมีทั้ง เนื้อและผักในมื้อเดียว
วันอาทิตย์ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
วันศุกร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
หลัก ความพอประมาณ นำมาใช้กับมนุษย์เงินเดือน
หลัก ความพอประมาณ นำมาใช้กับมนุษย์เงินเดือน
เมื่อเราได้งานใหม่ๆ มีงานทำ มีเงินเดือน สังคมใหม่ สิ่งแวดล้อมใหม่เพื่อนใหม่ๆ การคบค้าสมาคมการสังสรรค์ และค่าใช้จ่ายอื่นก็มากขึ้นตามเงินเดือนที่ได้รับ ใช่ว่าเงินเดือนน้อยจะไม่ดี มีเงินเดือนน้อย ก็รายจ่ายอำนาจการเงินน้อย เงินเดือนมากอำนาจการเงินมากรายจ่ายก้มาก ถ้าขาดซึ่ง ความพอประมาณในมนุษย์เงินเดือน ความไม่พอดีก็จะเกิดขึ้น ทั้งสิ่งเย้ายวนต่างๆ มีมากมาย ความพอดีในการใช้เงินก็จะหมดไป การใช้เงินเกิดตัวจะเกิดขึ้น นี้คือสาเหตุของการกู้หนี้ยืมสิน ถ้าปล่อยให้การใช้เงินไม่มีความพอประมาณ การตามใจมือเติบเงิน เป็นสิ่งที่มนุษย์เงินเดือนควรระวังเป็นอย่างยิ่ง เพราะคุณจะไม่มีความสุขในชีวิตอีกเลย
เมื่อเราได้งานใหม่ๆ มีงานทำ มีเงินเดือน สังคมใหม่ สิ่งแวดล้อมใหม่เพื่อนใหม่ๆ การคบค้าสมาคมการสังสรรค์ และค่าใช้จ่ายอื่นก็มากขึ้นตามเงินเดือนที่ได้รับ ใช่ว่าเงินเดือนน้อยจะไม่ดี มีเงินเดือนน้อย ก็รายจ่ายอำนาจการเงินน้อย เงินเดือนมากอำนาจการเงินมากรายจ่ายก้มาก ถ้าขาดซึ่ง ความพอประมาณในมนุษย์เงินเดือน ความไม่พอดีก็จะเกิดขึ้น ทั้งสิ่งเย้ายวนต่างๆ มีมากมาย ความพอดีในการใช้เงินก็จะหมดไป การใช้เงินเกิดตัวจะเกิดขึ้น นี้คือสาเหตุของการกู้หนี้ยืมสิน ถ้าปล่อยให้การใช้เงินไม่มีความพอประมาณ การตามใจมือเติบเงิน เป็นสิ่งที่มนุษย์เงินเดือนควรระวังเป็นอย่างยิ่ง เพราะคุณจะไม่มีความสุขในชีวิตอีกเลย
วันอาทิตย์ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
ความพอประมาณ แนวทางการนำไปใช้ใน ดำเนินชีวิต
ความพอประมาณ แนวทางการนำไปใช้ใน ดำเนินชีวิต
ในการดำเนินชีวิตของเรา ต้องยึกหลักความพอประมาณ เป็นที่ตั้งไม่ว่าจะเป็นเด็ก หรือผู้ใหญ่ มากไปก็ไม่ดี น้อยไปก้ไม่ดี อยู่สายกลางสะบายๆ ไร้กังวล
ความพอประมาณ |
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
เศรษฐกิจพอเพียง ความพอประมาณ
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ยึดหลักทางสายกลาง ที่ชี้แนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติของประชาชนในทุกระดับให้ดำเนินไปในทางสายกลาง มีความพอเพียง และมีความพร้อมที่จะจัดการต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะต้องอาศัยความรอบรู้ รอบคอบ และระมัดระวัง ในการวางแผนและดำเนินการทุกขั้นตอน ทั้งนี้ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นการดำเนินชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืน เพื่อให้สามารถอยู่ได้แม้ในโลกโลกาภิวัตน์ที่มีการแข่งขันสูง
แผนภาพแสดงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ทรงปรับปรุงพระราชทานเป็นที่มาของนิยาม "3 ห่วง 2 เงื่อนไข" ที่คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นำมาใช้ในการรณรงค์เผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผ่านช่องทางสื่อต่าง ๆ อยู่ในปัจจุบัน ซึ่งประกอบด้วยความ "พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน" บนเงื่อนไข "ความรู้" และ "คุณธรรม"
ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง อธิบายถึงการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ว่า เป็นการพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวตลอดจนการใช้ความรู้ ความรอบคอบละคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทำต่าง ๆ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่มากและไม่น้อยจนเกินไป ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่พอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การใช้หลักเหตุผลในการตัดสินใจเรื่องต่าง ๆ โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงรอบตัว ปัจจัยเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้นั้น จะต้องอาศัยความรู้ และคุณธรรม เป็นเงื่อนไขพื้นฐาน กล่าวคือ เงื่อนไขความรู้ หมายถึง ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังในการดำเนินชีวิตและการประกอบการงาน ส่วนเงื่อนไขคุณธรรม คือ การยึดถือคุณธรรมต่าง ๆ อาทิ ความซื่อสัตย์สุจริต ความอดทน ความเพียร การมุ่งต่อประโยชน์ส่วนรวมและการแบ่งปัน ฯลฯ ตลอดเวลาที่ประยุกต์ใช้ปรัชญา
อภิชัย พันธเสน ผู้อำนวยการสถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม ได้จัดแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็น "ข้อเสนอในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามแนวทางของพุทธธรรมอย่างแท้จริง" ทั้งนี้เนื่องจากในพระราชดำรัสหนึ่ง ได้ให้คำอธิบายถึง เศรษฐกิจพอเพียง ว่า "คือความพอประมาณ ซื่อตรง ไม่โลภมาก และต้องไม่เบียดเบียนผู้อื่น"[8]
ระบบเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งเน้นให้บุคคลสามารถประกอบอาชีพได้อย่างยั่งยืน และใช้จ่ายเงินให้ได้มาอย่างพอเพียงและประหยัด ตามกำลังของเงินของบุคคลนั้น โดยปราศจากการกู้หนี้ยืมสิน และถ้ามีเงินเหลือ ก็แบ่งเก็บออมไว้บางส่วน ช่วยเหลือผู้อื่นบางส่วน และอาจจะใช้จ่ายมาเพื่อปัจจัยเสริมอีกบางส่วน สาเหตุที่แนวทางการดำรงชีวิตอย่างพอเพียง ได้ถูกกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในขณะนี้ เพราะสภาพการดำรงชีวิตของสังคมทุนนิยมในปัจจุบันได้ถูกปลูกฝัง สร้าง หรือกระตุ้น ให้เกิดการใช้จ่ายอย่างเกินตัว ในเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องหรือเกินกว่าปัจจัยในการดำรงชีวิต เช่น การบริโภคเกินตัว ความบันเทิงหลากหลายรูปแบบ ความสวยความงาม การแต่งตัวตามแฟชั่น การพนันหรือเสี่ยงโชค เป็นต้น จนทำให้ไม่มีเงินเพียงพอเพื่อตอบสนองความต้องการเหล่านั้น ส่งผลให้เกิดการกู้หนี้ยืมสิน เกิดเป็นวัฏจักรที่บุคคลหนึ่งไม่สามารถหลุดออกมาได้ ถ้าไม่เปลี่ยนแนวทางในการดำรงชีวิต
คัดลอกมาจาก https://th.wikipedia.org
แผนภาพแสดงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ทรงปรับปรุงพระราชทานเป็นที่มาของนิยาม "3 ห่วง 2 เงื่อนไข" ที่คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นำมาใช้ในการรณรงค์เผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผ่านช่องทางสื่อต่าง ๆ อยู่ในปัจจุบัน ซึ่งประกอบด้วยความ "พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน" บนเงื่อนไข "ความรู้" และ "คุณธรรม"
ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง อธิบายถึงการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ว่า เป็นการพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวตลอดจนการใช้ความรู้ ความรอบคอบละคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทำต่าง ๆ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่มากและไม่น้อยจนเกินไป ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่พอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การใช้หลักเหตุผลในการตัดสินใจเรื่องต่าง ๆ โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงรอบตัว ปัจจัยเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้นั้น จะต้องอาศัยความรู้ และคุณธรรม เป็นเงื่อนไขพื้นฐาน กล่าวคือ เงื่อนไขความรู้ หมายถึง ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังในการดำเนินชีวิตและการประกอบการงาน ส่วนเงื่อนไขคุณธรรม คือ การยึดถือคุณธรรมต่าง ๆ อาทิ ความซื่อสัตย์สุจริต ความอดทน ความเพียร การมุ่งต่อประโยชน์ส่วนรวมและการแบ่งปัน ฯลฯ ตลอดเวลาที่ประยุกต์ใช้ปรัชญา
อภิชัย พันธเสน ผู้อำนวยการสถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม ได้จัดแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็น "ข้อเสนอในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามแนวทางของพุทธธรรมอย่างแท้จริง" ทั้งนี้เนื่องจากในพระราชดำรัสหนึ่ง ได้ให้คำอธิบายถึง เศรษฐกิจพอเพียง ว่า "คือความพอประมาณ ซื่อตรง ไม่โลภมาก และต้องไม่เบียดเบียนผู้อื่น"[8]
ระบบเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งเน้นให้บุคคลสามารถประกอบอาชีพได้อย่างยั่งยืน และใช้จ่ายเงินให้ได้มาอย่างพอเพียงและประหยัด ตามกำลังของเงินของบุคคลนั้น โดยปราศจากการกู้หนี้ยืมสิน และถ้ามีเงินเหลือ ก็แบ่งเก็บออมไว้บางส่วน ช่วยเหลือผู้อื่นบางส่วน และอาจจะใช้จ่ายมาเพื่อปัจจัยเสริมอีกบางส่วน สาเหตุที่แนวทางการดำรงชีวิตอย่างพอเพียง ได้ถูกกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในขณะนี้ เพราะสภาพการดำรงชีวิตของสังคมทุนนิยมในปัจจุบันได้ถูกปลูกฝัง สร้าง หรือกระตุ้น ให้เกิดการใช้จ่ายอย่างเกินตัว ในเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องหรือเกินกว่าปัจจัยในการดำรงชีวิต เช่น การบริโภคเกินตัว ความบันเทิงหลากหลายรูปแบบ ความสวยความงาม การแต่งตัวตามแฟชั่น การพนันหรือเสี่ยงโชค เป็นต้น จนทำให้ไม่มีเงินเพียงพอเพื่อตอบสนองความต้องการเหล่านั้น ส่งผลให้เกิดการกู้หนี้ยืมสิน เกิดเป็นวัฏจักรที่บุคคลหนึ่งไม่สามารถหลุดออกมาได้ ถ้าไม่เปลี่ยนแนวทางในการดำรงชีวิต
คัดลอกมาจาก https://th.wikipedia.org
วันศุกร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
ธรรมะกับความพอประมาณ
ธรรมะกับความพอประมาณ
ในทางพุทธศาสนา ธรรมะของความพอประมาณ คือทางสายกลาง คือใช้ชีวิตแบบพอดี ไม่มากไม่น้อยจนเกินไป การไม่ยึดติดกับรูปรสกลิ่น เสียง ทำให้ไม่ โอนเอน ไปทางหนึ่งทางใดมากเกินไป ดั่งคำว่า มัฌิมาปฎิปาทา การยึดถือทางสายกลาง ผู้ที่เจริญไปด้วย ความพอประมาณ ทางสายกลาง ทำสิ่งใดก็จะเจริญ ไปด้วยธรรมะ ไม่มีความโลภ โกรธ หลง ใดๆ เพราะยึด มั่นด้วยหลักธรรมนี้
ในทางพุทธศาสนา ธรรมะของความพอประมาณ คือทางสายกลาง คือใช้ชีวิตแบบพอดี ไม่มากไม่น้อยจนเกินไป การไม่ยึดติดกับรูปรสกลิ่น เสียง ทำให้ไม่ โอนเอน ไปทางหนึ่งทางใดมากเกินไป ดั่งคำว่า มัฌิมาปฎิปาทา การยึดถือทางสายกลาง ผู้ที่เจริญไปด้วย ความพอประมาณ ทางสายกลาง ทำสิ่งใดก็จะเจริญ ไปด้วยธรรมะ ไม่มีความโลภ โกรธ หลง ใดๆ เพราะยึด มั่นด้วยหลักธรรมนี้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)